รับทำSEOราคาถูก, โปรโมทเว็บ, รับจ้างโฆษณาสินค้า

อุปกรณ์ออกบูธ, บูธสำเร็จรูป

รับทำseoราคาถูก, รับดันอันดับเว็บ, รับโปรโมทเว็บราคาถูก รับติดแบนเนอร์ รับติดแบนเนอร์ รับติดแบนเนอร์ รับติดแบนเนอร์ รับติดแบนเนอร์

รับติดแบนเนอร์ ตอกเสาเข็ม, ขายเสาเข็ม, ขายแผ่นพื้น, ปั้นจั่น, รับผลิตเสาเข็ม รับติดแบนเนอร์ ไนโตรเจนเหลว รับติดแบนเนอร์ รับติดแบนเนอร์

รับทาสีอาคาร รับติดป้ายแบนเนอร์ ป้ายโฆษณา รับติดแบนเนอร์ รับติดป้ายแบนเนอร์ ป้ายโฆษณา รับติดตั้งตาข่ายกันนก รับติดแบนเนอร์

รับทำseoราคาถูก, รับโปรโมทเว็บไซต์, รับดันอันดับเว็บไซต์, รับทำเว็บไซต์, ออกแบบเว็บไซต์ราคาถูก, รับประกันติดgoogle

ผู้เขียน หัวข้อ: ตรวจโรคกระดูกซี่โครงหัก (Rib fracture) และภาวะอกรวน (Flail chest)  (อ่าน 3 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

siritidaphon

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2749
  • รับโปรโมทเว็บ รับโพสต์เว็บราคาถูก โปรโมทเว็บ www.posthitz.com
    • ดูรายละเอียด

Permalink: ตรวจโรคกระดูกซี่โครงหัก (Rib fracture) และภาวะอกรวน (Flail chest)
ตรวจโรคกระดูกซี่โครงหัก (Rib fracture) และภาวะอกรวน (Flail chest)

กระดูกซี่โครงหัก มีความรุนแรงมากน้อยขึ้นกับลักษณะของการบาดเจ็บ ส่วนมากจะไม่มีอาการรุนแรงและค่อย ๆ หายได้เอง ส่วนน้อยอาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง


สาเหตุ

มักเกิดจากแรงกระแทกถูกบริเวณซี่โครงโดยตรง เช่น ถูกตี ถูกเตะ หกล้ม กระแทก ถูกพื้นหรือมุมโต๊ะ ถูกรถชน เป็นต้น


อาการ

ผู้ป่วยจะมีอาการปวดขณะก้มงอ บิดตัวหรือหายใจแรง ๆ และเมื่อใช้นิ้วกดถูกเบา ๆ จะรู้สึกเจ็บ

ถ้ากระดูกหักรุนแรง ทิ่มแทงถูกเนื้อปอด อาจทำให้เกิดภาวะมีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดหรือปอดทะลุ หรือมีเลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอด (hemothorax) ผู้ป่วยจะมีอาการหอบ ตัวเขียว ไอออกเป็นฟองเลือดสด ๆ หรือช็อก หน้าอกเคาะโปร่ง (ถ้ามีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอด) หรือเคาะทึบ (ถ้ามีเลือดในโพรงเยื่อหุ้มปอด)

ถ้ามีบาดแผลที่ผิวหนัง ทะลุถึงในปอด จะมีลมจากภายนอกผ่านบาดแผลเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด ทำให้เกิดภาวะมีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดได้เช่นกัน

ถ้ากระดูกซี่โครงหักหลายแห่ง (มักพบในกรณีที่เกิดจากรถชน รถคว่ำ) อาจทำให้เกิดภาวะอกรวน (flail chest) ซึ่งเป็นกรณีที่กระดูกซี่โครงหักติดต่อกันตั้งแต่ 3 ซี่ขึ้นไป และแต่ละซี่หักมากกว่า 2 ตำแหน่ง การหักนี้อาจหักข้างเดียวหรือทั้งสองข้างของทรวงอก เกิดส่วนที่แยกออกจากผนังทรวงอกเรียกว่า "ส่วนลอย" (floating segment) ทำให้ผนังทรวงอกเสียรูป เกิดการเคลื่อนไหวของทรวงอกที่ผิดปกติ (paradoxical chest movement) จะมีอาการหอบ ตัวเขียว ช็อก และหายใจผิดธรรมดา คือ หน้าอกส่วนนั้นจะยุบลงเวลาหายใจเข้าและโป่งขึ้นเวลาหายใจออก ซึ่งตรงกันข้ามกับหน้าอกส่วนที่ปกติ ส่งผลให้ประสิทธิภาพของการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลงและทำให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนได้ ภาวะอกรวนมักเกิดในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปมากกว่าคนหนุ่มสาว


ภาวะแทรกซ้อน

กระดูกที่หักอาจทิ่มแทงถูกเนื้อปอด ทำให้เกิดภาวะมีเลือดหรือลมในโพรงเยื่อหุ้มปอด หรืออาจเกิดภาวะอกรวนเป็นอันตรายได้


การวินิจฉัย

แพทย์จะวินิจฉัยจากอาการและสิ่งตรวจพบ และตรวจยืนยันโดยการเอกซเรย์


การรักษาโดยแพทย์

แพทย์จะให้การดูแลรักษา ดังนี้

1. ถ้ากระดูกซี่โครงหักแบบธรรมดา ไม่มีภาวะแทรกซ้อน เพียงแต่รู้สึกเจ็บปวดขณะเคลื่อนไหวหรือหายใจแรง ๆ ให้นอนพัก พยายามเคลื่อนไหวให้น้อยที่สุด อย่าหายใจเข้าออกแรง ๆ และให้กินยาแก้ปวด ไม่จำเป็นต้องใช้ผ้าพันหรือเข้าเฝือกรอบหน้าอก อาการเจ็บปวดจะค่อย ๆ ดีขึ้น อาจกินเวลา 1-2 สัปดาห์ และกว่าอาการปวดจะหายขาดอาจกินเวลาเป็นเดือน ๆ

2. ถ้ามีอาการหอบ ตัวเขียว ช็อก หรือสงสัยมีลมหรือเลือดอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอด หรือสงสัยมีภาวะอกรวน จะต้องรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล และทำการแก้ไขตามภาวะที่พบ


การดูแลตนเอง

หากสงสัย ควรปรึกษาแพทย์โดยเร็ว

เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่ากระดูกหัก ควรดูแลรักษาตามคำแนะนำของแพทย์ และติดตามรักษากับแพทย์ตามนัด


การป้องกัน

ระมัดระวังป้องกันตัวเองในเรื่องการเกิดอุบัติเหตุ และการหกล้ม


ข้อแนะนำ

ผู้ที่มีอาการเจ็บบริเวณซี่โครงตรงที่ถูกแรงกระแทก เวลาเคลื่อนไหวหรือหายใจแรง ๆ ถึงแม้จะไม่มีอาการผิดปกติ (เช่น หายใจลำบากหรือหายใจผิดปกติ) ร่วมด้วย ก็ควรปรึกษาแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัยให้แน่ชัด



โปรโมทเว็บ โฆษณาสินค้าออนไลน์ ประกาศขายสินค้าฟรี รับจ้างโพสเว็บ รับทำSEOราคาถูก